Thumb

สรุปย่อ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

ประกาศ 6 กรกฎาคม 2546 มี และมีผลบังคับใช้ 7 กรกฎาคม 2546

 

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2553 (ฉบับที่ 2) แก้ไขเพิ่มเติม ในมาตรา 4, 5, 6 และมาตรา 33

ประกาศ 22 กรกฎาคม 2553 มีผลบังคับใช้ 23 กรกฎาคม 2553

 

บริหารส่วนกลาง

จัดระเบียบบริหาร มี 2 ส่วน

    1.สำนักงานปลัดกระทรวง

    2.ส่วนราชการ (มีหัวหน้าขึ้นตรงกับ รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ)

 

กระทรวงศึกษาแบ่งบริหาร มี 3 ส่วน

    1.ส่วนกลาง (หัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อ รมว.ศธ.)

    2.เขตพื้นที่การศึกษา

    3.สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล

 

ระเบียบบริหาร ส่วนกลาง

    1.สำนักงานรัฐมนตรี (ไม่เป็นกรม และไม่เป็นนิติบุคคล)

    2.สำนักงานปลัดกระทรวง (สป.)

    3.สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

    4.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

    5.สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.)

    6.สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.)

ข้อ 2-6 เป็นกรมและนิติบุคคล

 

โครงสร้างส่วนกลาง

  • สำนักงานรัฐมนตรี

    นักการเมือง

  • สำนักงานปลัดกระทรวง

    สถานศึกษาและกศน ----> จัดการศึกษา

  • สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

    ไม่มีโรงเรียน

  • สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

    สพท ----> สถานศึกษา

  • สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา

    สถานศึกษา ----> จัดการศึกษา ----> โรงเรียนสาธิต

  • สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา

    สถานศึกษา ----> จัดการศึกษา ----> ปวช ----> ปวส

 

ระเบียบบริหาร เขตพื้นที่การศึกษา

    1.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (ประกาศโดย รมว.ศึกษาโดยคำแนะนำจากสภาการศึกษา)

       1.1 ประถม (สพป)

       1.2 มัธยม (สพม)

    2.สถานศึกษา

       การศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็นนิติบุคคล

       คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา (กพท)

         - เขตประถม 15 คน

         - เขตมัธยม 17 คน

    คนแต่งตั้ง "ประธานคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน"

    มีหน้าที่ ยุบ รวม เลิก สถานศึกษา รวมกับสำนักงานเขตพื้นที่

 

ระเบียบบริหาร ในสถานศึกษาของรัฐระดับปริญญา

กพ. ดูแล

 

การปฏิบัติราชการแทน

    ต้องทำเป็นหนังสือ ต้องรับมอบเท่านั้น ไม่มีสิทธิมอบต่อ

    ทำเฉพาะเรื่อง ต้องเป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา

  *ยกเว้น ผู้ว่าราชการจังหวัด สามารถมอบอำนาจต่อได้

 

การรักษาราชการแทน

กรณีไม่มี ไม่อยู่

    - รองอยู่คนเดียว รับราชการแทนอัตโนมัติ

    - รองอยู่หลายคน ให้ผอเขตแต่งตั้ง

  *ไม่มีรอง ผอ.สพท แต่งตัวครูคนใดคนหนึ่ง

  รักษา คือ ดูแลทั้งหมด

  ปฏิบัติ คือ ทำเฉพาะเรื่อง

 

   

เกร็ดความรู้

         กำหนดเขตพื้นที่ประถมและมัธยม ทำให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารราชการ และให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพ

         การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา โดยคำนึงถึงระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน

         หน่วยงานมี เลขาธิการ มีฐานะเทียบเท่า ปลัดกระทรวง



เอกสารอ้างอิง